Search...
หน้าหลัก
ภาพยนตร์ชาติพันธุ์
กิจกรรม
กิจกรรมล่าสุด
กิจกรรมที่ผ่านมา
โครงการ Visual Anthropology
แหล่งข้อมูล
บทความ
สื่อ / สิ่งพิมพ์
Newsletter
จดหมายข่าว
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง
ติดต่อเรา
You are here:
ค้นจากลำดับอักษร A-Z
Subscribe to this RSS feed
ภาพยนตร์ชาติพันธุ์ (332)
L' homme des Jorai : Video-portrait de Jacques Dournes
Jacques Dournes เข้าไปอาศัยอยู่ในประเทศเวียดนามบนพื้นที่สูงตอนกลางของประเทศเป็นเวลาถึง 25 ปี โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับชาติพันธุ์วิทยา เขาได้ทำการรวบรวมข้อมูลที่ศึกษาไว้มากถึง 250 เรื่อง อาทิเรื่องทางศาสนศาสตร์และเรื่องที่สำคัญๆกว่า เขาเป็นผู้เชี่ยวชาญทางชาติพันธุ์วิทยาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่เก็บ รวบรวมข้อมูลประเพณีจากคำบอกเล่า และเมื่อเขากลับมาจากเวียดนามใน 1970 จึงได้ร่วมงานกับ CNRS และลาออกในปลายปี 1980 มาอาศัยอยู่แถบเชิงเขา Cevennes ท่ามกลางหนังสือจำนวนมากของเขา รวมทั้ง รูปภาพ สมุดบันทึกภาคสนาม พันธุ์ไม้ดอกและพืชพรรณที่เขาปลูก เขาใช้ชีวิตของเขาที่เหลืออยู่กับการปลูกต้นไม้
Tagged under
เทคโนโลยีและวัฒนธรรมวัตถุ
ภาพยนตร์ชาติพันธุ์
เวียตนาม
ประเพณีจากคำบอกเล่า
นักชาติพันธุ์วิทยา
jarai
Ethnographic films
jacques dournes
19221993
vietnam
oral tradition
ethnologist
Read more...
L'Ame, la religion
ในประเทศศรีลังกาคนเชื่อว่าถ้าชีวิตของพวกเขามีความสามัคคี, มีการประกันสุขภาพของพวกเขาตราบใดที่คำสั่งของสิ่ง dictated โดยศาสนาพุทธและศาสนาฮินดูสามารถปฏิบัติตาม หากพวกเขาเป็นเหยื่อของความไม่รู้หรือภาพมายาเหล่านี้อาจละเมิดบรรทัดฐานที่ วางไว้ในตำราโบราณซึ่งจะมีผลในการทำงานผิดปกติของระบบของพวกเขา พิธีกรรมดำเนินการโดยยึดมั่นเกิดขึ้นในวัด พิธีเหล่านี้เป็นพื้นฐานของความเป็นอยู่และการรักษาพวกเขานำบุคคลที่เป็นที่ กลมกลืนกับจักรวาลและทำให้พวกเขาตระหนักถึงความจริงภายในของพวกเขา
Tagged under
ศาสนา / พิธีกรรม
พุทธศาสนา
ศาสนาฮินดู
พิธีกรรม
ประเพณี
ศรีลังกา
การรักษา
ชาติพันธ์วิทยา
buddhism
hindouism
ritual
tradition
therapeutic practice
sri lanka
ethnologyv
Read more...
L'Appel de la toundra
ภาพยนตร์เรื่องนี้ถ่ายทำในช่วงฤดูใบไม้ร่วงปี 2000 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ Yakutia, ไม่ไกลจากปากของแม่น้ำ Kolyma ที่บริเวณนี้มีกวางขนาดใหญ่อาศัยอยู่ในที่ซึ่งพวกมันพยายามที่จะหาวิธีอยู่ อย่างอิสระ ภาพยนตร์แสดงให้เห็นสมาชิกของชุมชนในสามสถานที่ที่อาศัยและประกอบอาชีพ ได้แก่ ในทุ่งหญ้าทุนดรา ซึ่งกลุ่มคนในส่วนนี้ทำหน้าหน้าดูแลกวางในพื้นที่ จำนวนประมาณ 2,000 ตัว มีชีวิตความเป็นอยู่แบบดั้งเดิม กลุ่มที่ 2 อาศัยอยู่ริมฝั่งของแม่น้ำทำอาชีพการประมง และกลุ่มที่ 3 ตั้งรกรากอาศัยอยู่ที่บริเวณพื้นที่ทางภาคใต้ซึ่งเป็นพื้นที่ตั้งถาวรของบร รพบุรษพวกเขาทั้ง 2 กลุ่มคือ Egor และ Akoulina โดยตั้งใจให้พื้นที่นี้รองรับญาติของพวกเขาและถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรมไปยัง เยาวชนรุ่นลูกหลานในขณะที่มีการคุกคามทางวัฒนธรรมมากขึ้นๆ…
Tagged under
ความสัมพันธ์ทางสังคม
วัฏจักรชีวิต
ชนพื้นเมือง
ภาพยนตร์ชาติพันธุ์
ความสัมพันธุ์ในครอบครัว
คนเร่ร่อน
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
indigenous peoples
yakutia
ethnographic film
family cooperative
nomad
social change
tundra
Read more...
More...
L'exotique est quotidien : Retour a Sar Luk
La chasse au lion a l'arc
La fete de Tamar et Lashari
La fete des eaux a Vientiane
La fete du milieu de l'ete
La fiancee
La guerre d’Algerie
La haine
La Jetee and Sans Soleil
La route du betail
La transmission de la tradition : Rituels a Yaeyama
La traversee
Start
Prev
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
Next
End
Page 9 of 23
จาก “ผีเสื้อและดอกไม้” ถึง “Tanah Surga... Katanya” : หนังเด็กไทยและอินโดนีเซียความเหมือนที่แตกต่าง
จาก “ผีเสื้อและดอกไม้” ถึง “Tanah Surga...…
Read 6405 times
SFbBox by
EnterLogic
Topic
ค้นจากลำดับอักษร A-Z
- การจัดระเบียบการปกครองและการเมือง
- การศึกษาและความรู้
- ความยุติธรรมและกฎหมาย
- ความสัมพันธ์กับคนต่างชาติและคนต่างชาติพันธุ์
- ความสัมพันธ์ทางสังคม
- เครือญาติและการจัดระเบียบทางสังคม
- ทฤษฎีมานุษยวิทยา
- เทคโนโลยีและวัฒนธรรมวัตถุ
- นิทาน/เรื่องเล่า/ตำนาน/ปรัมปราคติ
- ประวัติบุคคล / ชีวประวัติ
- ปัญหาสังคม
- เพศและการสืบพันธุ์
- ภาษาและการสื่อสาร
- วัฏจักรชีวิต
- ศาสนา / พิธีกรรม
- ศิลปะและการแสดง
- สันทนาการ
- สุขภาพ/ความเจ็บป่วย/การเยียวยา/ความตาย
- เหตุการณ์ประจำวัน
©2024 Visual Anthropology : มานุษยวิทยาทัศนา |
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน)